![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjhWgcHyx95OR6dL-hXnpfKuMYp0djcrMaeoeeM-WvtlHWvK3lzd1LAFwrrkt6SmT4TLhYOIcDdtFrVdCjer_rImR2WlqiO7fx_CLQggx4sd2PrnAa31XZZzPi0ywjAANoeG1rDY5PmUT8/s320/a.gif)
******************************************************
หน่วยที่3 การออม![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEimhcXF9XtG7ZjKvcSV-P7YeZTAdF8DbfX_8cK4-ysxfKxfwCasP0UGF_8kYmA_k7Zi7ey2cbAehXnekGsIayWntx0jhqFoDLUZlQB7CXRlz3J9zHeXfh0YhvqrS8cWLXVQnpXfaEQDxjM/s320/kapook_39484.gif)
ความหมายของการออม
วัตถุประสงค์ของการออม
1 หลักการออม
2 ปัจจัยที่มีผลต่อการออม
3 ประโยชน์ของการออม
4 สถาบันการเงินเพื่อการออม
5 ปัจจัยในการเลือกสถาบันการเงินเพื่อการออม
ความหมายของการออม
การออม(Saving)
ส่วนแตกต่างของรายได้ที่เหลือจากการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค
การพิจารณาเลือกวิธีการใช้จ่ายเงินที่มีอยู่เพื่อไม่ให้บริโภคหมดในครั้งเดียว
เงินรายได้ของบุคคลส่วนที่มิได้นำไปใช่จ่ายเพื่อการบริโภคและอาจนำไปลงทุน เพื่อให้เกิดประโยชน์ แก่เจ้าของและระบบเศรษฐกิจ
รายรับ – รายจ่าย / Incomes – Expenses
การเก็บเงินไว้เฉยๆ ( Hoarding ) การเก็บเงินไว้โดยไม่นำมาใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ ( Saving ) = เกิดประโยชน์เป็นผลตอบแทน / ดอกเบี้ย
วัตถุประสงค์ของการออม
สร้างหลักประกันชีวิตและความมั่นคงทางด้านการเงิน
เพื่อให้มีเงินไว้ใช้ในวัยชรา
เพื่อไว้ใช้ทางด้านการศึกษาและความก้าวหน้าในการงาน
เพื่อไว้เป็นมรดก ให้ลูกหลานและสังคม
เป็นเงินทุนในการประกอบอาชีพ
ไว้ใช้จ่ายนอกเหนือจากรายจ่ายประจำ
หลักการออม
1. กำหนดเป้าหมายหรือ วัตถุประสงค์ในการออม
2. ตระหนักถึงภาระและหน้าที่ ในการประหยัดเพื่อเก็บออม
3. วางแผนการใช้จ่ายเงินตามความสำคัญของการใช้จ่าย
4. ควบคุมการใช้จ่ายให้เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้อย่างสม่ำเสมอ
5.ใช้วิธีการออมแบบบังคับโดยสร้างภาระการออมด้วยความสมัครใจ
6. หาทางเพิ่มรายได้ให้สูงขึ้นจากเงินออม
7.จัดทำงบประมาณการเงินหรือแผนการใช้จ่ายเงิน
วิธีการเพิ่มพูนรายได้จากเงินออม และผลประโยชน์ที่ได้รับ
-ฝากธนาคาร / ดอกเบี้ย
-ซื้อหุ้น / กำไรจากการขาย
-ซื้อที่ดิน / กำไรจากการขาย
ผลกระทบต่อเงินออมในการแสวงหาผลประโยชน์
-ช่วยให้ภาระการออมเงินปีต่อๆไปลดลง
-การออมเท่าๆกันอย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิดรายได้และมีเงินออมมากกว่าเป้าหมาย
หน่วยที่3 การออม
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEimhcXF9XtG7ZjKvcSV-P7YeZTAdF8DbfX_8cK4-ysxfKxfwCasP0UGF_8kYmA_k7Zi7ey2cbAehXnekGsIayWntx0jhqFoDLUZlQB7CXRlz3J9zHeXfh0YhvqrS8cWLXVQnpXfaEQDxjM/s320/kapook_39484.gif)
ความหมายของการออม
วัตถุประสงค์ของการออม
1 หลักการออม
2 ปัจจัยที่มีผลต่อการออม
3 ประโยชน์ของการออม
4 สถาบันการเงินเพื่อการออม
5 ปัจจัยในการเลือกสถาบันการเงินเพื่อการออม
ความหมายของการออม
การออม(Saving)
ส่วนแตกต่างของรายได้ที่เหลือจากการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค
การพิจารณาเลือกวิธีการใช้จ่ายเงินที่มีอยู่เพื่อไม่ให้บริโภคหมดในครั้งเดียว
เงินรายได้ของบุคคลส่วนที่มิได้นำไปใช่จ่ายเพื่อการบริโภคและอาจนำไปลงทุน เพื่อให้เกิดประโยชน์ แก่เจ้าของและระบบเศรษฐกิจ
รายรับ – รายจ่าย / Incomes – Expenses
การเก็บเงินไว้เฉยๆ ( Hoarding ) การเก็บเงินไว้โดยไม่นำมาใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ ( Saving ) = เกิดประโยชน์เป็นผลตอบแทน / ดอกเบี้ย
วัตถุประสงค์ของการออม
สร้างหลักประกันชีวิตและความมั่นคงทางด้านการเงิน
เพื่อให้มีเงินไว้ใช้ในวัยชรา
เพื่อไว้ใช้ทางด้านการศึกษาและความก้าวหน้าในการงาน
เพื่อไว้เป็นมรดก ให้ลูกหลานและสังคม
เป็นเงินทุนในการประกอบอาชีพ
ไว้ใช้จ่ายนอกเหนือจากรายจ่ายประจำ
หลักการออม
1. กำหนดเป้าหมายหรือ วัตถุประสงค์ในการออม
2. ตระหนักถึงภาระและหน้าที่ ในการประหยัดเพื่อเก็บออม
3. วางแผนการใช้จ่ายเงินตามความสำคัญของการใช้จ่าย
4. ควบคุมการใช้จ่ายให้เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้อย่างสม่ำเสมอ
5.ใช้วิธีการออมแบบบังคับโดยสร้างภาระการออมด้วยความสมัครใจ
6. หาทางเพิ่มรายได้ให้สูงขึ้นจากเงินออม
7.จัดทำงบประมาณการเงินหรือแผนการใช้จ่ายเงิน
วิธีการเพิ่มพูนรายได้จากเงินออม และผลประโยชน์ที่ได้รับ
-ฝากธนาคาร / ดอกเบี้ย
-ซื้อหุ้น / กำไรจากการขาย
-ซื้อที่ดิน / กำไรจากการขาย
ผลกระทบต่อเงินออมในการแสวงหาผลประโยชน์
-ช่วยให้ภาระการออมเงินปีต่อๆไปลดลง
-การออมเท่าๆกันอย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิดรายได้และมีเงินออมมากกว่าเป้าหมาย
-การทำให้เงินงอกเงยขึ้นและมีเงินใช้ต่อเดือนสูงขึ้น
-การมีเงินใช้ได้นานและมีเงินออมไว้เป็นมรดก
( ต้องมีการจำกัดการใช้เงิน / ไม่ใช้เงินที่ได้มามากขึ้น )
ปัจจัยที่มีผลต่อการออม
1. รายได้
2. อุปนิสัยส่วนบุคคล
3. โอกาสการลงทุนและเครื่องมือลงทุน
4. การบริการของสถาบันการเงิน
5. ค่าใช้จ่ายของบุคคลที่มากหรือน้อย
6. สิทธิทางด้านภาษี
7. อัตราดอกเบี้ย
8. เวลาในการออม
9. ภาวะเงินเฟ้อ
ประโยชน์ของการออม
ประโยชน์ต่อผู้ออม
n มีเงินไว้ใช้จ่ายยามชราหรือช่วงที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้
n เป็นการเตรียมพร้อมเพื่อกันเงินไว้ใช้จ่ายยามฉุกเฉิน
n ช่วยสร้างความมั่นคงในการดำรงชีวิตแก่ตนเองและครอบครัว
n ช่วยเพิ่มอำนาจซื้อสินค้าและบริการที่มีคุณภาพดี
n ช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการออมตามเป้าหมาย
n เป็นการส่งเสริมการลงทุนและการแสวงหาผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นจากการออม
ประโยชน์ของการออมประโยชน์ต่อสังคมและเศรษฐกิจ
n ทำให้เกิดการสะสมเงินทุนหรือเกิดการลงทุนเพิ่มขึ้นในระบบเศรษฐกิจ
n ทำให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้นมีผลต่อรายได้และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของประชากร
n เกิดความก้าวหน้าทางด้านการผลิต การบริการของธุรกิจการค้าภายในและต่างประเทศ
n เกิดเสถียรภาพแก่ระบบเศรษฐกิจเมื่อมีการลงทุนจากการออม
n เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศจากการดึงเงินออมมาเพิ่มการหมุนเวียนของการลงทุนในตราสารการเงิน
สถาบันการเงินเพื่อการออม
ธนาคารออมสิน เป็นธนาคารของรัฐ และเป็นสถาบันการออมทรัพย์สินต่างๆของบุคคล ในรูปของการฝากเงิน ประเภทต่างๆ
สถาบันการเงินเพื่อการออม
ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่ส่งเสริมและให้บริการออมเงินด้วยการรับฝากเงินประเภทต่างๆ
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ส่งเสริมการออมเพื่อการสร้างที่อยู่อาศัยด้วยการรับฝาก เงินและการกู้ยืมเงิน
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
สถาบันการเงินของรัฐที่สร้างเงินฝากและการกู้ยืมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง ความเป็นอยู่ที่ดี การมีที่ดินเป็นของตน
และการมีทุนประกอบอาชีพ
สถาบันการเงินเพื่อการออม
สหกรณ์ออมทรัพย์ - สถาบันการเงินที่ตั้งขึ้นจากการรวมตัวกันของสมาชิกในหน่วยงานต่างๆเพื่อรับฝากเงินออมและให้กู้ยืมแก่สมาชิก
บริษัทการเงิน - สถาบันการเงินที่มีการระดมเงินออมไปให้กู้ยืมเพื่อการลงทุนตามวัตถุประสงค์และให้อัตราผลตอบแทนเงินออมสูง
บริษัทประกันชีวิต - สถาบันการเงินที่ช่วยให้ผู้ออมที่ทำประกันได้รับความคุ้มครองหรือรับเงินจ่ายคืนเมื่อครบกำหนดตามสัญญา
กองทุนรวม - เป็นการลงทุนจากผู้ออมตามสัดส่วนของเงินโดยผู้ลงทุนจะได้รับ “หน่วยลงทุน”และได้รับเฉลี่ยดอกผลจากการลงทุน
สถาบันการเงินนอกระบบ - เป็นสถาบันการออมแบบไม่เป็นทางการโดย การรวมตัวของสมาชิกที่ตกลงจัดตั้งกองทุนที่เรียกว่า“การเล่นแชร์”มีหัวหน้ากลุ่มรวบรวมเงินออม และจัดการดอกเบี้ยเงินออมจากการประมูลเงินแชร์แก่ สมาชิก
ปัจจัยในการเลือกสถาบันการเงินเพื่อการออม
-เป็นสถาบันการที่มีความมั่นคงและปลอดภัย
-ให้ผลตอบแทนมากและแน่นอน
-เป็นสถาบันการเงินที่มีสภาพคล่องสูง
( การหมุนเวียนของเงินที่จะนำมาจ่ายคืนเงินออมรวดเร็ว )
-เกิดภาระภาษีจากผลตอบแทนของเงินออมไม่สูงเกินไป
-การมีเงินใช้ได้นานและมีเงินออมไว้เป็นมรดก
( ต้องมีการจำกัดการใช้เงิน / ไม่ใช้เงินที่ได้มามากขึ้น )
ปัจจัยที่มีผลต่อการออม
1. รายได้
2. อุปนิสัยส่วนบุคคล
3. โอกาสการลงทุนและเครื่องมือลงทุน
4. การบริการของสถาบันการเงิน
5. ค่าใช้จ่ายของบุคคลที่มากหรือน้อย
6. สิทธิทางด้านภาษี
7. อัตราดอกเบี้ย
8. เวลาในการออม
9. ภาวะเงินเฟ้อ
ประโยชน์ของการออม
ประโยชน์ต่อผู้ออม
n มีเงินไว้ใช้จ่ายยามชราหรือช่วงที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้
n เป็นการเตรียมพร้อมเพื่อกันเงินไว้ใช้จ่ายยามฉุกเฉิน
n ช่วยสร้างความมั่นคงในการดำรงชีวิตแก่ตนเองและครอบครัว
n ช่วยเพิ่มอำนาจซื้อสินค้าและบริการที่มีคุณภาพดี
n ช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการออมตามเป้าหมาย
n เป็นการส่งเสริมการลงทุนและการแสวงหาผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นจากการออม
ประโยชน์ของการออมประโยชน์ต่อสังคมและเศรษฐกิจ
n ทำให้เกิดการสะสมเงินทุนหรือเกิดการลงทุนเพิ่มขึ้นในระบบเศรษฐกิจ
n ทำให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้นมีผลต่อรายได้และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของประชากร
n เกิดความก้าวหน้าทางด้านการผลิต การบริการของธุรกิจการค้าภายในและต่างประเทศ
n เกิดเสถียรภาพแก่ระบบเศรษฐกิจเมื่อมีการลงทุนจากการออม
n เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศจากการดึงเงินออมมาเพิ่มการหมุนเวียนของการลงทุนในตราสารการเงิน
สถาบันการเงินเพื่อการออม
ธนาคารออมสิน เป็นธนาคารของรัฐ และเป็นสถาบันการออมทรัพย์สินต่างๆของบุคคล ในรูปของการฝากเงิน ประเภทต่างๆ
สถาบันการเงินเพื่อการออม
ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่ส่งเสริมและให้บริการออมเงินด้วยการรับฝากเงินประเภทต่างๆ
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ส่งเสริมการออมเพื่อการสร้างที่อยู่อาศัยด้วยการรับฝาก เงินและการกู้ยืมเงิน
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
สถาบันการเงินของรัฐที่สร้างเงินฝากและการกู้ยืมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง ความเป็นอยู่ที่ดี การมีที่ดินเป็นของตน
และการมีทุนประกอบอาชีพ
สถาบันการเงินเพื่อการออม
สหกรณ์ออมทรัพย์ - สถาบันการเงินที่ตั้งขึ้นจากการรวมตัวกันของสมาชิกในหน่วยงานต่างๆเพื่อรับฝากเงินออมและให้กู้ยืมแก่สมาชิก
บริษัทการเงิน - สถาบันการเงินที่มีการระดมเงินออมไปให้กู้ยืมเพื่อการลงทุนตามวัตถุประสงค์และให้อัตราผลตอบแทนเงินออมสูง
บริษัทประกันชีวิต - สถาบันการเงินที่ช่วยให้ผู้ออมที่ทำประกันได้รับความคุ้มครองหรือรับเงินจ่ายคืนเมื่อครบกำหนดตามสัญญา
กองทุนรวม - เป็นการลงทุนจากผู้ออมตามสัดส่วนของเงินโดยผู้ลงทุนจะได้รับ “หน่วยลงทุน”และได้รับเฉลี่ยดอกผลจากการลงทุน
สถาบันการเงินนอกระบบ - เป็นสถาบันการออมแบบไม่เป็นทางการโดย การรวมตัวของสมาชิกที่ตกลงจัดตั้งกองทุนที่เรียกว่า“การเล่นแชร์”มีหัวหน้ากลุ่มรวบรวมเงินออม และจัดการดอกเบี้ยเงินออมจากการประมูลเงินแชร์แก่ สมาชิก
ปัจจัยในการเลือกสถาบันการเงินเพื่อการออม
-เป็นสถาบันการที่มีความมั่นคงและปลอดภัย
-ให้ผลตอบแทนมากและแน่นอน
-เป็นสถาบันการเงินที่มีสภาพคล่องสูง
( การหมุนเวียนของเงินที่จะนำมาจ่ายคืนเงินออมรวดเร็ว )
-เกิดภาระภาษีจากผลตอบแทนของเงินออมไม่สูงเกินไป
หน่วยที่4 การลงทุน
1. ความหมายของการลงทุน
2. รูปแบบของการลงทุน
3. ประเภทของการลงทุน
4. หลักการพิจารณาการลงทุน
5. การศึกษาข้อมูลในการลงทุน
6. การวางแผนการลงทุน
7. ประโยชน์ที่ได้รับจากการลงทุน
1. ความหมายของการลงทุน
2. รูปแบบของการลงทุน
3. ประเภทของการลงทุน
4. หลักการพิจารณาการลงทุน
5. การศึกษาข้อมูลในการลงทุน
6. การวางแผนการลงทุน
7. ประโยชน์ที่ได้รับจากการลงทุน
หน่วยที่4 การลงทุน
( Investment )
-การนำเงินออมมาแปรสภาพเป็นเงินลงทุนเพื่อให้เกิดผลตอบแทนตามความคาดหวัง
-การใช้เงินออมหรือการนำเงินที่ได้จากการกู้ยืมหรือการนำหลักทรัพย์ที่ซื้อไว้ออกไปแสวงหาผลประโยชน์เพื่อให้เกิดกำไรในอนาคต
-การที่ผู้บริโภคนำเงินออมที่มีอยู่หรือเงินที่ได้จากการกู้ยืมมาดำเนินกิจกรรมด้านธุรกิจเพื่อให้เกิดเป็นสินค้าและบริการสนองความต้องการของผู้บริโภค
รูปแบบของการลงทุน
การลงทุนที่ทำให้เกิดรายได้ประจำ
-การฝากเงินกับธนาคาร ( ดอกเบี้ย )
-การฝากเงินกับสถาบันการเงิน (ดอกเบี้ย)
-การซื้อพันธบัตร ( ดอกเบี้ย )
-การซื้อสลากออมสิน ( ถูกรางวัล )
-การซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต (เงินปันผล)
-การซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ (เงินปันผล)
-การซื้อหน่วยลงทุนจากกองทุนรวม ( เงินปันผล )
การลงทุนที่ทำให้เกิดรายได้ผันแปร
-การซื้อหุ้นสามัญ ( เงินปันผลตามผลกำไร )
-การซื้ออสังหาริมทรัพย์อาคารชุด บ้าน ที่ดิน ( กำไรจากการขายต่อ )
-การซื้อโภคภัณฑ์ล่วงหน้า ( การเก็งกำไร )
ประเภทของการลงทุน
การลงทุนทางด้านผู้บริโภค
-การลงทุนซื้อสินค้าและอสังหาริมทรัพย์ (มุ่งหวังกำไรและความพอใจในการใช้)
-การลงทุนทางธุรกิจ (มุ่งหวังผลกำไรในการดำเนินงาน)
-การลงทุนในหลักทรัพย์ (มุ่งหวังผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ยหรือเงินปันผล)
ประเภทของการลงทุน
- การลงทุนทางตรง (direct Investment) เจ้าของทุนใช้เงินของตนเองและรับผิดชอบดำเนินการด้วยตนเอง
- การลงทุนทางอ้อม (Indirect Investment)เจ้าของทุนเข้าไปมีส่วนร่วมในการประกอบธุรกิจหรือร่วมลงทุน กับธุรกิจอื่นเป็นการลงทุนทางการเงิน
หลักการพิจารณาการลงทุน
-ความปลอดภัยของการลงทุน
-ผลตอบแทนที่ได้รับเหมาะสมคุ้มค่า
-ความเสี่ยงหรือโอกาสเกิดความสูญเปล่าของการลงทุน
-สภาพคล่องหรือความสามารถเปลี่ยนเงินลงทุนเป็นเงินสดได้เร็ว
การศึกษาข้อมูลในการลงทุนบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้เป็นเจ้าของเครื่องมือลงทุน ( รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ บริษัทจำกัด )
-ข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงและฐานะการเงิน
ผู้ให้บริการทางการเงิน (นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ตัวแทนหน่วยลงทุน)
-เป็นตัวกลางของการซื้อขายเครื่องมือลงทุน
ตลาดซื้อขายเครื่องมือลงทุน (ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ศูนย์ซื้อขายตราสารหนี้ไทย)
-เป็นศูนย์กลางการซื้อขายเครื่องมือลงทุน
ผู้กำกับดูแล (ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงาน ก.ล.ต)
-เป็นองค์การที่ดูแลให้การลงทุนดำเนินการอย่างราบรื่นและเป็นธรรม
การศึกษาข้อมูลลงทุน
แหล่งข้อมูลในการลงทุน
ธนาคารแห่งประเทศไทย – หน่วยงานควบคุมสถาบันการเงินเพื่อการลงทุน
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (สำนักงาน ก.ล.ต)
- พัฒนา กำกับดูแลการดำเนินธุรกิจจัดการลงทุน
- เป็นศูนย์รวบรวมข้อมูลสำคัญของธุรกิจจัดการลงทุน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
- ส่งเสริมการระดมเงินออมและการระดมเงินทุนภายในประเทศ
- เสริมสร้างสภาพคล่องและเสถียรภาพการซื้อขายหลักทรัพย์
- เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์
สถาบันที่ให้คำแนะนำปรึกษาการลงทุน
- ธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์
แหล่งข้อมูลภายในของบริษัท
- งบการเงิน รายงานประจำปี
แหล่งข้อมูลจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง
- เพื่อน ญาติ นักลงทุน
การวางแผนลงทุน
การลงทุนด้วยตนเอง
1.กำหนดวัตถุประสงค์ในการลงทุน
-ผลตอบแทนที่ต้องการ
-ระยะเวลาในการลงทุน
-ระดับความเสี่ยง
2.เลือกรูปแบบของการลงทุน
การลงทุนรายใหญ่ - ตราสารหนี้
การลงทุนรายย่อย
- เงินฝาก
-พันธบัตร
-ตั๋วสัญญาใช้เงิน
-หุ้น
-การทำประกันหุ้น
การวางแผนลงทุน-การลงทุนด้วยตนเอง
3.กระจายความเสี่ยงไปยังการลงทุนที่หลากหลาย
4.หาช่องทางแก้ปัญหาหากไม่ได้รับความเป็นธรรมใน การลงทุน
5.เลือกนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ หรือตัวแทนหน่วยลงทุน
6.แสวงหาข้อมูลเพื่อตัดสินใจลงทุนจากบุคคลที่ เกี่ยวข้อง และแหล่งข้อมูลต่างๆ
การวางแผนลงทุน
-การนำเงินออมมาแปรสภาพเป็นเงินลงทุนเพื่อให้เกิดผลตอบแทนตามความคาดหวัง
-การใช้เงินออมหรือการนำเงินที่ได้จากการกู้ยืมหรือการนำหลักทรัพย์ที่ซื้อไว้ออกไปแสวงหาผลประโยชน์เพื่อให้เกิดกำไรในอนาคต
-การที่ผู้บริโภคนำเงินออมที่มีอยู่หรือเงินที่ได้จากการกู้ยืมมาดำเนินกิจกรรมด้านธุรกิจเพื่อให้เกิดเป็นสินค้าและบริการสนองความต้องการของผู้บริโภค
รูปแบบของการลงทุน
การลงทุนที่ทำให้เกิดรายได้ประจำ
-การฝากเงินกับธนาคาร ( ดอกเบี้ย )
-การฝากเงินกับสถาบันการเงิน (ดอกเบี้ย)
-การซื้อพันธบัตร ( ดอกเบี้ย )
-การซื้อสลากออมสิน ( ถูกรางวัล )
-การซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิต (เงินปันผล)
-การซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ (เงินปันผล)
-การซื้อหน่วยลงทุนจากกองทุนรวม ( เงินปันผล )
การลงทุนที่ทำให้เกิดรายได้ผันแปร
-การซื้อหุ้นสามัญ ( เงินปันผลตามผลกำไร )
-การซื้ออสังหาริมทรัพย์อาคารชุด บ้าน ที่ดิน ( กำไรจากการขายต่อ )
-การซื้อโภคภัณฑ์ล่วงหน้า ( การเก็งกำไร )
ประเภทของการลงทุน
การลงทุนทางด้านผู้บริโภค
-การลงทุนซื้อสินค้าและอสังหาริมทรัพย์ (มุ่งหวังกำไรและความพอใจในการใช้)
-การลงทุนทางธุรกิจ (มุ่งหวังผลกำไรในการดำเนินงาน)
-การลงทุนในหลักทรัพย์ (มุ่งหวังผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ยหรือเงินปันผล)
ประเภทของการลงทุน
- การลงทุนทางตรง (direct Investment) เจ้าของทุนใช้เงินของตนเองและรับผิดชอบดำเนินการด้วยตนเอง
- การลงทุนทางอ้อม (Indirect Investment)เจ้าของทุนเข้าไปมีส่วนร่วมในการประกอบธุรกิจหรือร่วมลงทุน กับธุรกิจอื่นเป็นการลงทุนทางการเงิน
หลักการพิจารณาการลงทุน
-ความปลอดภัยของการลงทุน
-ผลตอบแทนที่ได้รับเหมาะสมคุ้มค่า
-ความเสี่ยงหรือโอกาสเกิดความสูญเปล่าของการลงทุน
-สภาพคล่องหรือความสามารถเปลี่ยนเงินลงทุนเป็นเงินสดได้เร็ว
การศึกษาข้อมูลในการลงทุนบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้เป็นเจ้าของเครื่องมือลงทุน ( รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ บริษัทจำกัด )
-ข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงและฐานะการเงิน
ผู้ให้บริการทางการเงิน (นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ตัวแทนหน่วยลงทุน)
-เป็นตัวกลางของการซื้อขายเครื่องมือลงทุน
ตลาดซื้อขายเครื่องมือลงทุน (ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ศูนย์ซื้อขายตราสารหนี้ไทย)
-เป็นศูนย์กลางการซื้อขายเครื่องมือลงทุน
ผู้กำกับดูแล (ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงาน ก.ล.ต)
-เป็นองค์การที่ดูแลให้การลงทุนดำเนินการอย่างราบรื่นและเป็นธรรม
การศึกษาข้อมูลลงทุน
แหล่งข้อมูลในการลงทุน
ธนาคารแห่งประเทศไทย – หน่วยงานควบคุมสถาบันการเงินเพื่อการลงทุน
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (สำนักงาน ก.ล.ต)
- พัฒนา กำกับดูแลการดำเนินธุรกิจจัดการลงทุน
- เป็นศูนย์รวบรวมข้อมูลสำคัญของธุรกิจจัดการลงทุน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
- ส่งเสริมการระดมเงินออมและการระดมเงินทุนภายในประเทศ
- เสริมสร้างสภาพคล่องและเสถียรภาพการซื้อขายหลักทรัพย์
- เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์
สถาบันที่ให้คำแนะนำปรึกษาการลงทุน
- ธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์
แหล่งข้อมูลภายในของบริษัท
- งบการเงิน รายงานประจำปี
แหล่งข้อมูลจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง
- เพื่อน ญาติ นักลงทุน
การวางแผนลงทุน
การลงทุนด้วยตนเอง
1.กำหนดวัตถุประสงค์ในการลงทุน
-ผลตอบแทนที่ต้องการ
-ระยะเวลาในการลงทุน
-ระดับความเสี่ยง
2.เลือกรูปแบบของการลงทุน
การลงทุนรายใหญ่ - ตราสารหนี้
การลงทุนรายย่อย
- เงินฝาก
-พันธบัตร
-ตั๋วสัญญาใช้เงิน
-หุ้น
-การทำประกันหุ้น
การวางแผนลงทุน-การลงทุนด้วยตนเอง
3.กระจายความเสี่ยงไปยังการลงทุนที่หลากหลาย
4.หาช่องทางแก้ปัญหาหากไม่ได้รับความเป็นธรรมใน การลงทุน
5.เลือกนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ หรือตัวแทนหน่วยลงทุน
6.แสวงหาข้อมูลเพื่อตัดสินใจลงทุนจากบุคคลที่ เกี่ยวข้อง และแหล่งข้อมูลต่างๆ
การวางแผนลงทุน
การลงทุนผ่านผู้บริหารเงิน
- การลงทุนผ่านกองทุนรวม
*เหมาะแก่ผู้ลงทุนมือใหม่ซึ่งไม่มีเวลาศึกษาข้อมูล ดูแล ติดตามการลงทุน
- พิจารณาผลตอบแทนและความเสี่ยง
- เลือกรูปแบบการลงทุน
การลงทุนรายใหญ่ - กองทุนรวมเฉพาะด้าน
การลงทุนรายย่อย - กองทุนรวม
- เลือกผู้บริหารเงิน
การมีใบอนุญาต + การคิดค่าธรรมเนียม
- พิจารณาผลตอบแทนและความเสี่ยง
- เลือกรูปแบบการลงทุน
การลงทุนรายใหญ่ - กองทุนรวมเฉพาะด้าน
การลงทุนรายย่อย - กองทุนรวม
- เลือกผู้บริหารเงิน
การมีใบอนุญาต + การคิดค่าธรรมเนียม
- ศึกษาสิทธิและหน้าที่ของผู้ลงทุน
สิทธิ การเรียกร้องสิทธิจากปัญหาที่เกิดจากการลงทุน
หน้าที่ ศึกษาข้อมูลรายละเอียดจากแหล่งข้อมูลในการลงทุนประเภทต่างๆ
ประโยชน์ที่ได้จากการลงทุน
ผลประโยชน์ที่ผู้ลงทุนได้รับ
-เกิดผลตอบแทนผลกำไรจากการลงทุน
-เกิดความมั่นคงทางการเงิน
-เกิดการออมเพิ่มขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับจากการลงทุน
ผลประโยชน์ที่มีต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
1 เกิดผลกำไรจากการดำเนินงานทางธุรกิจ
2 ประชากรมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
3 เกิดการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานในการลงทุน
4 เกิดความก้าวหน้า พัฒนาประเทศด้านต่างๆ (การคมนาคม การสื่อสาร การศึกษา)
5 รายได้ประชาชาติ / ผลผลิตสุทธิของ ประเทศเพิ่มขึ้น
สิทธิ การเรียกร้องสิทธิจากปัญหาที่เกิดจากการลงทุน
หน้าที่ ศึกษาข้อมูลรายละเอียดจากแหล่งข้อมูลในการลงทุนประเภทต่างๆ
ประโยชน์ที่ได้จากการลงทุน
ผลประโยชน์ที่ผู้ลงทุนได้รับ
-เกิดผลตอบแทนผลกำไรจากการลงทุน
-เกิดความมั่นคงทางการเงิน
-เกิดการออมเพิ่มขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับจากการลงทุน
ผลประโยชน์ที่มีต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
1 เกิดผลกำไรจากการดำเนินงานทางธุรกิจ
2 ประชากรมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
3 เกิดการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานในการลงทุน
4 เกิดความก้าวหน้า พัฒนาประเทศด้านต่างๆ (การคมนาคม การสื่อสาร การศึกษา)
5 รายได้ประชาชาติ / ผลผลิตสุทธิของ ประเทศเพิ่มขึ้น
**************************************************